แผนการจัดการเรียนรู้จินตวิศวกรรม
โดย :: จริยา ทองหอม (03/07/2559)
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
(สาขาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร)
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ผังมโนทัศน์
องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้จินตวิศวกรรม
แผนการจัดการเรียนรู้
จินตวิศวกรรม
|
1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
2.
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
4. สาระการเรียนรู้
5. สมรรถนะหลัก/สมรรถนะย่อย
6. ชิ้นงาน/ภาระงาน
7. กิจกรรมการเรียนรู้
8. สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
9. การวัดและการประเมินผล
10. เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ/เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
|
แผนการจัดการเรียนรู้จินตวิศวกรรม
การสังเคราะห์การจัดการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทำให้ได้แผนการจัดการเรียนรู้จินตวิศวกรรมที่มีองค์ประกอบ
ดังนี้
1.
สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.
สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
4.2 สาระการเรียนรู้ของหลักสูตรออนไลน์
4.2.1
การเรียนรู้จินตวิศวกรรม
4.2.2
การเสริมสร้างทักษะสร้างสรรค์นวัตกรรม
5. สมรรถนะหลัก/สมรรถนะย่อย
6. ชิ้นงาน/ภาระงาน
7. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 จินตวิศวทัศน์
(Imagineering Visual)
1.1
ขั้นตอนการกำหนดโจทย์จินตนาการของผลงาน (Problem)
1.2
ขั้นตอนการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของจินตนาการ (Feasibility)
ขั้นที่ 2 จินตวิศวะจำลอง(Imagineering Visual)
2.1 ขั้นตอนการร่างแบบ (Draft)
2.2
ขั้นตอนการสร้างแบบจำลอง (Prototype)
ขั้นที่ 3 จินตวิศวะรังสรรค์(Imagineering
Create)
3.1
ขั้นตอนการสร้างสรรค์นวัตกรรม (Create)
3.2 ขั้นตอนการทดสอบนวัตกรรม (Test)
ขั้นที่ 4 จินตวิศวลีลา(Imagineering Present)
4.1 ขั้นตอนการแสดงผลงาน (Show)
4.2 ขั้นตอนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge
Exchange)
ขั้นที่ 5 จินตวิศวนิยม(Imagineering
Improvement)
5.1 ขั้นตอนการแก้ไขผลงาน (Revised)
5.2
ขั้นตอนการสรุปผลการทำงาน (Conclusion)
ขั้นที่ 6 จินตวิศวพิจารณ์ (Imagineering Evaluate)
6.1
ขั้นตอนการประเมินกระบวนการจินตนาการ (Process Evaluation)
6.2
ขั้นตอนการประเมินคุณภาพผลงาน (Product Evaluation)
8. สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
9. การวัดและการประเมินผล
10. เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ/เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น